Embedded Systems Training with Raspberry Pi RP2040: A Guideline

​ โดยทั่วไป เราสามารถจำแนกระบบสมองกลฝังตัว (Embedded Systems) ได้หลายประเภท เช่น จำแนกตามประเภทของตัวประมวลผลหลัก เช่น ไมโครคอนโทรลเลอร์ (MCU) หรือ ชิปประเภท SoC ที่โปรแกรมได้ (เช่น ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์บอร์ดเดี่ยว หรือ Single-Board Computers: SBCs) หรือประเภทที่มีความซับซ้อนอย่างเช่น Hybrid Platform (เช่น CPU+FPGA SoC) แตกต่างกันไปตามสถาปัตยกรรมของตัวประมวลผลภายใน ประเภทและขนาดของหน่วยความจำที่ใช้งานได้ เป็นต้น ​ ไมโครคอนโทรลเลอร์คงเป็นตัวเลือกแรกสำหรับการเรียนรู้ ลองมาดูหัวข้อหลักในการเรียนรู้เกี่ยวกับไมโครคอนโทรลเลอร์กันก่อน ยกตัวมาเป็นตัวอย่างดังนี้…

Embedded Systems Training with Raspberry Pi RP2040: A Guideline
Embedded Systems Training with Raspberry Pi RP2040: A Guideline

FPGA Story — Part 1

​ ผู้เขียนมีความตั้งใจว่า ในปีพ.ศ. 2564 อยากจะเริ่มเขียนบทความทางด้านเทคโนโลยีที่เรียกว่า FPGA ซึ่งเป็นประเภทของชิปที่โปรแกรมได้เชิงลอจิก โดยส่วนตัวก็ถือว่า จะได้เป็นการศึกษา ทบทวน และอัปเดตความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางด้านนี้ แม้ว่าจะเคยได้ใช้งานในอดีตมาบ้างแต่ก็ผ่านมาหลายปีแล้ว… ก่อนอื่นก็ทบทวนคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกันก่อน SoC, ASIC, Custom vs. Semi-Custom Design ​ ไอซี (IC: Integrated Circuit) หรือบางทีก็เรียกว่า ชิป (Chip) ถูกสร้างขึ้นโดยใช้สารกึ่งตัวนำ (Semiconductor) โดยทั่วไปแล้ว ก็คือการสร้างวงจรบนแผ่นซิลิกอน บาง ๆ (Silicon Wafer) เป็นวัสดุที่ทำจากธาตุซิลิกอน (Si Substrate) ไอซีแบ่งออกได้เป็นหลายประเภทที่นำมาใช้ได้ในการออกแบบและสร้างระบบบนแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์…

FPGA Story — Part 1
FPGA Story — Part 1